วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554

คำถาม

1.โปรแกรมแปลภาษาคือ
 
ตอบเป็นซอฟต์แวร์หรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่แปลSource Progran ให้เป็นobject Program

2.โปรแกรมแปลภาษาทำหน้าที่

ตอบ ทำหน้าที่แปลSource Progran ให้เป็น object Program

3.โปรแกรมแปลภาษาแบ่งเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

ตอบ 2ประเภท แปลภาษาระดับต่ำ   แปลภาษาระดับสูง

4.ตัวแปลภาษาระดับต่ำทำหน้าที่

ตอบ  แปลภาษาระดับต่ำให้เป็นภาษาใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง

5.แอสแซมเบลอร์ คืออะไร

ตอบ  โปรแกรมภาษแอสแสวมเบลอร์ ใช้โปรแกรมภาษาแอสแซมบลี

6.ตัวแปลภาษาระดับสูงทำหน้าที่

ตอบ แปรภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

7.ตัวแปลภาษาระดับสูงแบ่งเป็นกี่่ประเภทอะไรบ้าง

ตอบ คอมไฟเลอร์       อินเตอร์พลีตเตอร์

8.คอมไฟเลอร์กับอินเตอร์พลีตเตอร์

ตอบ คอมไฟเตอร์ เป็นลักษณะการตรวจสอบคำสั่งที่เข้ามาว่าการเปลี่ยนคำสั่ง

 

วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554

system software

1ซอฟต์เเวร์ระบบ(system softwarr)แบ่งเป็น 3 ประเภทอะไรบ้าง

ตอบ  1.ระบบปฎิบัติการ 2.โปรแกรมแปลภาษา 3.โปรแกมอรรถประโยชน์

2. ระบบปฎิบัติการคือ..............?

ตอบ เป็นซอฟต์แวร์ที่่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่   ซีพียู หน่วยความจำจนไปถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก

3.ระบบปฎิบัติการมีความสำคัญอย่างไร

ตอบ ถ้าไม่มีหน่วยปฎิบัติการคอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้


4.หน่ววยปฎิบัติการมีหน้าที่อย่างไร

ตอบ 1.การจองและการกำหนดใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์

2.การจัดตารางงาน

3.การติดตามผลของระบบ

4.การทำงานหลายโปรแกรม

5.การจัดแบ่งเวลา 

6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

5.ตัวอย่างระบบปฎิบัติการที่สำคัญที่ควรรู้จัก  6 ชนิด

ตอบ 1.ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์

2.ระบบปฎิบัติการแมคอินทอช

3.ระบบปฎิบัติการลินุกซ์

4.ระบบปฎิบัติการวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์

5.ระบบปฎิบัติก่ารปาล์ม

6.ระบบปฎิบัติการซิมเบียน

6.แอนดรอยด์(Android)คือ...............?  



 สำหรับอุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ ที่มีหน่วยประมวลผลเป็นส่วนประกอบ อาทิเช่น คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์ (Telephone), โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cell phone), อุปกรณ์เล่นอินเตอร์เน็ตขนาดพกพา (MID) เป็นต้น แอนดรอยด์นั้น ถือกำเนิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2550 โดยบริษัท กูเกิล จุดประสงค์ของแอนดรอยด์นั้น มีจุดเริ่มต้นมาจากบริษัท Android Inc. ที่ได้นำเอาระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (Linux) ซึ่งนิยมนำไปใช้งานกับเครื่องแม่ข่าย (Server) เป็นหลัก นำมาลดทอนขนาดตัว (แต่ไม่ลดทอนความสามารถ) เพื่อให้เหมาะสมแกการนำไปติดตั้งบนอุปกรณ์พกพา ที่มีขนาดพื้นที่จัดเก็บข้อมูลที่จำกัด โดยหวังว่า แอนดรอยด์ นั้นจะเป็นหุ่นยนต์ตัวน้อย ๆ ที่คอยช่วยเหลืออำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่พกพามัน ไปในทุกที่ ทุกเวลา

กูเกิลแอนดรอยด์ เป็นชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของเจ้าแอนดรอยด์ เนื่องจากปัจจุบันนี้ บริษัทกูเกิล เป็นผู้ที่ถือสิทธิบัตรในตราสัญญาลักษณ์ ชื่อ และ รหัสต้นฉบับ (Source Code) ของแอนดรอยด์ ภายใต้เงื่อนไขการพัฒนาแบบ GNL โดยเปิดให้นักพัฒนา (Developer) สามารถนำรหัสต้นฉบับ ไปพัฒนาปรับแต่งได้อย่างเปิดเผย (Open source) ทำให้แอนดรอยด์มีผู้เข้าร่วมพัฒนาเป็นจำนวนมาก และพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ว
แอนดรอยด์เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 ปัจจุบันมีผู้ร่วมพัฒนากว่า 52 องค์กร ประกอบด้วยบริษัทซอฟท์แวร์ บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์ บริษัทผู้ให้บริการเครือข่าย และบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ฯลฯ


ประเภทของชุดซอฟท์แวร์ เนื่องจากแอนดรอยด์นั้นเปิดให้นักพัฒนาเข้าไปชมรหัสต้นฉบับได้ ทำให้มีผู้พัฒนาจากหลายฝ่ายนำเอารหัสต้นฉบับมาปรับแต่ง และสร้างแอนดรอยด์ในแบบฉบับของตนเองขึ้น เราจึงแบ่งประเภทของแอนดรอยด์ออกได้เป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. Android Open Source Project (AOSP) เป็นแอนดรอยด์ประเภทแรกที่กูเกิลเปิดให้สามารถนำ “ต้นฉบับแบบเปิด” ไปติดตั้งและใช้งานในอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายได ๆ
2. Open Handset Mobile (OHM) เป็นแอนดรอยด์ที่ได้รับการพัฒนาร่วมกับกลุ่มบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์พกพา ที่เข้าร่วมกับกูเกิลในนาม Open Handset Alliances (OHA) ซึ่งบริษัทเหล่านี้จะพัฒนาแอนดรอยด์ในแบบฉบับของตนออกมา โดยรูปร่างหน้าตาการแสดงผล และฟังค์ชั่นการใช้งาน จะมีความเป็นเอกลักษณ์ และมีลิขสิทธิ์เป็นของตน พร้อมได้รับสิทธิ์ในการมีบริการเสริมต่าง ๆ จากกูเกิล ที่เรียกว่า Google Mobile Service (GMS) ซึ่งเป็นบริการเสริมที่ทำให้แอนดรอยด์มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามจุดประสงค์ของแอนดรอยด์ แต่การจะได้มาซึ่ง GMS นั้น ผู้ผลิตจะต้องทำการทดสอบระบบ และขออนุญาตกับทางกูเกิลก่อน จึงจะนำเครื่องออกสู่ตลาดได้
3. Cooking หรือ Customize เป็นแอนดรอยด์ที่นักพัฒนานำเอารหัสต้นฉบับจากแหล่งต่าง ๆ มาปรับแต่ง ในแบบฉบับของตนเอง โดยจะต้องทำการปลดล๊อคสิทธิ์การใช้งานอุปกรณ์ หรือ Unlock เครื่องก่อน จึงจะสามารถติดตั้งได้ โดยแอนดรอยด์ประเภทนี้ถือเป็นประเภทที่มีความสามารถมากที่สุด เท่าที่อุปกรณ์เครื่องนั้น ๆ จะรองรับได้ เนื่องจากได้รับการปรับแต่งให้เข้ากับอุปกรณ์นั้น ๆ จากผู้ใช้งานจริง

สิทธิ์ในการใช้งานระบบ เช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการทั่วไป ที่มีการจำกัดการใช้งาน และการเข้าถึงส่วนต่าง ๆภายในระบบ เพื่อความปลอดภัยของระบบ และ ผู้ใช้งาน อุปกรณ์ที่ติดตั้งระบบแอนดรอยด์จึงมีการจำกัดสิทธิ์ไว้ (เว้นแต่ได้ทำการปลดล๊อคสิทธิ์ หรือ root เครื่องแล้ว) สามารถแบ่งสิทธิ์ของผู้ใช้ในการเข้าถึงระบบคร่าว ๆ ได้ดังต่อไปนี้
1. สิทธิ์ root สิทธ์การใช้ใช้งานระดับราก ซึ่งถือว่าเป็นรากฐานของระบบ จึงมีความสามารถในการเข้าถึงทุก ๆ ส่วนของระบบ
2. สิทธิ์  นักพัฒนาสามารถเข้าถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบได้ผ่านสิทธิ์นี้
3.สิทธิ์ของโปรแกรมในการเข้าถึงระบบ และสิทธิ์ของระบบในการเข้าถึงอุปกรณ์ โดยสิทธิ์เหล่านี้ ตัวระบบจะเป็นตัวจัดการมอบและถอนสิทธิ์ ตามเงื่อนไขที่กำหนดซึ่งจะถูกแบ่งย่อยออกเป็นหลายหัวข้อ 4. ผู้ใช้งานขั้นสุดท้าย ซึ้งก็คือ คุณ และ คุณ ทั้งหลาย ที่ใช้การเข้าถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบผ่านช่องทางสิทธิ์ที่โปรแกรมได้รับอีกที โดยจะถูกจำกัดไม่ให้เข้าถึงในส่วนที่เป็นอันตรายต่อแกนระบบและอุปกรณ์

จากด้านบนจึงเป็นที่มาของคำว่า “รูธเครื่อง” ซึ่งหมายถึงการทำให้ สามารถใช้งานระบบได้ในถานะ  ผ่านแอพพลิเคชั่น การรูธจึงเปรียบเสมือนดาบสองคม ซึ่งผู้ใช้ที่ต้องการจะรูธเครื่องตนเองนั้น ควรจะมีความรู้เกี่ยวกับแอนดรอยด์ในระดับสูง และมีความชำนาญในการใช้งานตัวเครื่องเสียก่อน ไม่เช่นนั้นอาจเป็นการเปิดทางให้โปรแกรมบุคคลที่สามสร้างความเสียหายให้แก่เครื่อง และระบบได้

ข้อจำกัดของแอนดรอยด์ แอนดรอยด์ที่ดีนั้นจะต้องมี GMS ซึ่งก็จะต้องขึ้นอยู่กับกูเกิลว่าผู้ผลิตเครื่องไหน สามารถสำเอา GMS ไปใช้ได้บ้าง โดยจะต้องได้รับการยอมรับ และอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร จากผู้ถือสิทธิบัตรซึ่งก็คือ กูเกิล เสียก่อน หลังจากนั้นจึงจะเผยแพร่ได้ หากแต่เป็นการเผยแพร่ในเชิงพัฒนา หรือแจกฟรีนั้น ไม่จำเป็นต้องรอให้ทางกูเกิลอนุมัติก็ได้ ส่งผลให้อุปกรณ์บางรุ่นถูกจำกัดความสามารถในการใช้งาน แต่อย่างไรก็ตาม ภายใต้ GNL สิทธิบัตร จึงเป็นการเปิดโอกาศให้มีการพัฒนาได้อย่างอิสระ ทำให้ข้อจำกัดต่าง ๆ หมดไป เมื่อมีคนใช้ก็ย่อมมีคนแก้ ยิ่งใช้เยอะยิ่งมีคนช่วยแก้เยอะ

7.ios คืออะไร



iOS เป็น "ระบบปฏิบัติการ" ของ iPhone, iPod touch, iPad และ Apple TV
ให้พูดง่าย ๆ ก็คือ ถ้าบนคอมมีระบบ Windows บน iPhone ก็ต้องมีระบบ iOS


อุปกรณ์ทีรองรับ












วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ซอฟต์แวร์ระบบ

1.ความหมาย
คือ  ซอฟต์เเวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบ    คอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ จากนั้นนำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ การจัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรองเป็นต้น


2.ประเภทของซอฟต์แวร์
1.ระบบปฎิบัติการ
2.โปรเเกรมเปลี่ยนภาษา
3.โปรแกรมอรรถประโยค




คำถาม


1.ความหมายของซอฟต์แวร์ระบบ


ก.ชุดคำสั่ง


ข.เพื่อใช้งานจัดการกับระบบและหน้าที่การทำงานพื้นฐานต่างๆ


2.ประเภทของซอฟต์แวร์


ก.ระบบปฎิบัติ


ข.รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์


เฉลย

ข้อ1.ข.เพื่อใช้งานจัดการกับระบบและหน้าที่การทำงานพื้นฐานต่างๆ


ข้อ2.ก.ระบบปฎิบัติ


ระบบปฎิบัติการ

1.ความหมาย

เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งงหมด
ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจำไปจนถึงหน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆ ว่า แพลตฟอร์ม   คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฎิบัติงาน การติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน


หน้าที่

1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์

2.การจัดตารางงาน

3.การติดตามผลของระบบ

4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้องกัน

5.การจัดแบ่งเวลา

6.การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

ตัวอย่างปฏิบัติการที่ควรรู้จัก

1.ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์

2.ระบบปฏิบัติการเเมคอินทอช

3.ระบบปฏิบัติการลินุกซ์

4.ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์

5.ระบบปฏิบัติการปาล์ม

6.ระบบปฏิบัติการซิมเบียน

คำถาม

1. หน้าที่มีกี่ข้อ

 ก.6ข้อ

 ข.10ข้อ

 2.ระบบปฏิบัติการการลินุกซ์เป็นการพัฒนาขึ้นมาโดยใคร

ก.ลินุกซ์ ทอวาลดส์ 

 ข.โรมันส์

3.ระบบปฏิบัติการปาล์มเเบบพกพาเรียกว่าอะไร

 ก.เครื่องปาล์ม

ข.เครื่องคอม

เฉลย 

 1.ก.6ข้อ

 2.ก.ลินุกซ์  ทอวาลดส์

 3.ก.เครื่องปาล์ม